14 ธ.ค. 2552
ใบงานที่ 6. ประโยชน์ของ Google
ใบงานที่ 6
. ประโยชน์ของ http://www. Google.co.th/
ประโยชน์ของ Google ในการบริการ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มได้ 3 กลุ่ม โดยแบ่งออกตามความสามารถในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้
1. บริการในกลุ่มดัชนีค้นหา(Search Engines) Google Web Search Features
ประกอบด้วยบริการค้นหาต่อไปนี้
1.1 Book Search :• บริการค้นหาหนังสือแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการใหม่ของ Google ที่เพิ่งเปิดให้บริการกับแฟนหนังสือโดยเฉพาะ
1.2 Cached Links• :บริการช่วยจับประเด็นหรือหัวเรื่องสำคัญของเว็บไซต์ที่คุณต้องการจะค้นหา
1.3 • Calculator : เครื่องคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่คุณสามารถตั้งตัวเลข โดยคีย์ลงในช่องค้นหาของ Google แล้วคลิ้กหาคำตอบที่ต้องการได้เลย
1.4 • Currency Conversion : บริการแปลงหน่วยมาตราเงินสำหรับระบบแลกเปลี่ยนเงินตรา
1.5 • Definitions : หมวดคำศัพท์ที่คุณสามารถค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย
1.6 • File Types : ดัชนีค้นหาสินค้าออนไลน์ทั่วทุกมุมโลก
1.7 Groups :• ถ้าหากว่าคุณอยากรู้ข้อมูลข่าวสารที่มีคนโพสต์กันบนเว็บไซต์ สามารถค้นหาได้จากบริการนี้
1.8 I ‘m Feeling Lucky :• ปุ่มบริการดัชนีค้นหาที่ช่วยให้ค้นหาเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว และตรงประเด็น โดยข้ามลิงก์ของเว็บไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ถูกตัดออกไป
1.9 Images :• ระบบดัชนีค้นหารูปภาพที่คลิกได้ง่าย และเร็วทันใจ
2. บริการในกลุ่ม Google Services
2.1 Alerts :• Answer :•บริการแจ้งเตือนข่าวสารและผลการค้นหาผ่านอีเมล์แบบออนไลน์ บริการตอบคำถามให้กับคุณได้ทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ โดยนักวิจัยชื่อดังกว่า 500 คน
2.2 Blog Search : บริการค้นหาหัวข้อเรื่องที่เป็น Blog•
2.3 Catalogs :•ในประเด็นที่คุณสนใจ บริการค้นหารายการสินค้าที่คุณสนใจและต้องการจะสั่งซื้อผ่านระบบออนไลน์
2.4 • Directory : บริการค้นหาสาระสำคัญต่าง ๆ ที่อยู่บนเว็บไซต์
2.5 Labs :• บริการใหม่ ๆ ของ Google ที่คุณสามารถเข้าไปทดสอบใช้งานได้ฟรี ก่อนที่จะออกมาเป็นชุดเต็มของโปรแกรม
2.6 Mobile : บริการหลักของ Google• ที่สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องโทรศัพท์มือถือ เช่น บริการดัชนีค้นหาเอกสาร รูปภาพ หรือส่ง SMS
3. บริการในกลุ่ม Google Tools
3.1 Blogger :• เว็บไซต์ที่มีเครื่องมือสำหรับสร้าง Blogger ของคุณเอง
3.2 Code :• เครื่องมือสำหรับดาวน์โหลด APls และ Source code
3.3 Desktop :• เครื่องมือสำหรับช่วยค้นหาไฟล์และข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
3.4 • Earth : เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถค้นหาแผนที่โลกจากดาวเทียม
3.5 • Gmail : บริการอีเมล์รุ่นทดสอบของ Google ที่มีความจุกว่า 2.6 กิกะไบต์
2. การค้นหาข้อมูลขั้นสูงมีวิธีการดังนี้
การใช้งาน google ขั้นสูง ในการค้นหาข้อมูล
1.Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)
2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris
3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำพวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature หรือ final fantasy +x
4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย
5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนตรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF
6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"
7. Google สามารถแปลเว็บภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเว็บ)
8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
Adobe Portable Document Format (นามสกุลของไฟล์ pdf)
Adobe PostScript (นามสกุลของไฟล์ ps)
Lotus 1-2-3 (นามสกุลของไฟล์ wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (นามสกุลของไฟล์ lwp)
MacWrite (นามสกุลของไฟล์ mw)
Microsoft Excel (นามสกุลของไฟล์ xls)
Microsoft PowerPoint (นามสกุลของไฟล์ ppt)
Microsoft Word (นามสกุลของไฟล์ doc)
Microsoft Works (นามสกุลของไฟล์ wks, wps, wdb)
Microsoft Write (นามสกุลของไฟล์ wri)
Rich Text Format (นามสกุลของไฟล์ rtf)
Text (นามสกุลของไฟล์ ans หรือ txt)
วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)
9. Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บบางเว็บที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)
10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword
11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้
ที่มา: วิชาการ.คอม
3. web ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล นอกจาก Google แล้ว ยังมีอื่นๆ อีก เช่น
นอกจาก Google ที่คุ้นๆ ก็มีดังนี้ที่อาจจะดีกว่าพี่ Google ในบางอย่างรูป
http://www.compfight.com/
http://www.spffy.com/
ไฟล์
http://www.thaidirr.com/
http://www.rapidshare-searcher.com/
http://fileshunt.com/rapidshare.php
http://www.data-sheet.net/
เพลง
http://www.midomi.com/
http://www.songza.com/
วิดีโอ
http://www.truveo.com/
อื่นๆ
http://www.viewzi.com/
http://www.groovle.com/
4. การกำหนดหมวดหมู่ในการค้นหาโดยใช้ Google
การจัดหมวดหมู่คืออะไร
การจัดหมวดหมู่ในวิกิพีเดียหมายความว่า การจัดกลุ่มบทความที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กันอยู่ภายใต้กลุ่มเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการค้นหาข้อมูลและดูเนื้อหาเรื่องที่เกี่ยวข้อง การจัดหมวดหมู่ในวิกิพีเดียสามารถทำได้โดยการใช้คำสั่งเพื่อระบุหมวดหมู่ของบทความนั้นๆ บทความที่มีการระบุหมวดหมู่จะไปอยู่รวมกันภายใต้เนื้อหาหัวข้อที่สัมพันธ์กัน โดยในหน้าหมวดหมู่นั้นๆ จะมีการจัดเรียงหัวข้อบทความตามรายชื่อตามตัวอักษรโดยอัตโนมัติ
การสร้างหมวดหมู่
ก่อนการสร้างหมวดหมู่ ควรพิจารณาความเหมาะสมที่เนื้อหาและความสัมพันธ์กันในเนื้อหา รวมถึงการตั้งชื่อหมวดหมู่ ในแต่ละบทความควรจะมีกลุ่มหมวดหมู่เนื้อหา และในแต่ละบทความอาจจะอยู่ได้ในหลายหมวดหมู่ เช่น บทความเรื่อง "นก" อาจจะอยู่ในหมวดหมู่ "สัตว์" และหมวดหมู่ย่อยของสัตว์อีก เป็น "สัตว์ปีก" เป็นต้น การเริ่มสร้างหมวดหมู่อาจจะเริ่มสร้างชื่อหมวดหมู่ไว้ที่หน้าหมวดหมู่เพื่อจะได้วางแผนจัดการเนื้อหาก่อน หรือจะใส่ชื่อหมวดหมู่ที่หน้าบทความนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะนิยมสร้างไว้ท้ายบทความ การสร้างชื่อหมวดหมู่ใช้คำสั่งดังนี้
• พิมพ์ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการหลัง category: [[category:ชื่อหมวดหมู่]]
• หรือพิมพ์ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการหลัง หมวดหมู่: [[หมวดหมู่:ชื่อหมวดหมู่]]
การสร้างหมวดหมู่ย่อย
การสร้างหมวดหมู่ย่อยทำเช่นเดียวกับการสร้างหมวดหมู่บทความ แต่จะต้องกำหนดหมวดหมู่หลักก่อน เช่น ในบทความเรื่อง "นก" ก็จะสร้างชื่อหมวดหมู่ไว้สองชื่อที่บทความคือ [[หมวดหมู่:สัตว์]] และ [[หมวดหมู่:สัตว์ปีก]]
การตั้งชื่อหมวดหมู่
การตั้งชื่อบทความในวิกิพีเดียไทยก็จะมีแนวปฏิบัติคือตั้งตามนโยบายการตั้งชื่อบทความ หลักการหลักๆ เช่น ตั้งชื่อเป็นภาษาไทย และชื่อควรเป็นคำนามไม่เป็นคำกริยา เช่น รัก ควรเป็น ความรัก เป็นต้น
การจัดเรียงหัวข้อในหมวดหมู่
โดยปกติบทความที่มีการระบุหมวดหมู่ จะจัดลำดับหัวข้อตามลำดับพยัญชนะภายใต้หมวดหมู่นั้นๆ โดยอัตโนมัติ แต่ในบางกรณีเราอาจจะต้องกำหนดด้วยคำสั่งเป็นกรณีพิเศษหากต้องการให้หัวข้อบทความนั้นๆ อยู่ในส่วนที่เรากำหนด ตัวอย่างเช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาพม่า หากไม่ได้กำหนดคำสั่งพิเศษ ก็จะถูกจำแนกให้อยู่ในหมวดอักษร ภ ตามพยัญชนะที่ขึ้นต้นคำ หากเราต้องการให้จัดอยู่ในหมวดหมู่ตามพยํญชนะที่ขึ้นต้นชื่อภาษาจะต้องคั่นด้วยเครื่องหมาย แล้วตามด้วยชื่อภาษา บทความนั้นก็จะถูกจัดเข้าในหมวดหมู่พยัญชนะที่ต้องการ ตัวอย่างเช่น
[[หมวดหมู่:ภาษาอังกฤษอังกฤษ]] และ [[หมวดหมู่:ภาษาพม่าพม่า]]
ที่มา : การจัดหมวดหมู่ _ lomamikyway
ที่มา : การจัดหมวดหมู่ Investment Wiki
glitter-graphics.com
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น